ชื่อวิทยานิพนธ์ : การพัฒนาสื่อการสอนฟังเสริม รายวิชาภาษาอังกฤษหลัก อ 019 ด้วยวิธีการเรียน รู้แบบพึ่งพาตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ชื่อนักศึกษา : ประสิทธิ์ สรรสม
สถาบัน : มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปริญญา : มหาบัณฑิต
หลักสูตร : ศึกษาศาสตร์
สาขา : การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ
ปี : 2544
ISBN : 974-653-379-7
สืบค้นข้อมูลต้นสังกัด : http://www.library.su.ac.th/
บทคัดย่อ : การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อการสอนฟังเสริม รายการ วิชาภาษาอังกฤษ อ 019 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และเพื่อเปรียบ เทียบความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังการฝึกทักษะ การฟัง เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณสมบัติของสื่อการสอน ที่สร้าง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544 โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ สื่อการสอนฟัง เสริมรายวิชาภาษาอังกฤษหลัก อ 019 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจำนวน 8 บทเรียน แบบ ทดสอบวัดความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษก่อนและหลังการทดลอง และแบบประเมินความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณสมบัติของสื่อการสอนฟัง ทั้ง 8 บทเรียน การทดลองใช้เวลา 8 สัปดาห์ ๆ ละ 2 คาบเรียน ๆ ละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 16 คาบ ก่อนการทดลองใช้สื่อการสอนผู้วิจัยได้ทดสอบนักเรียนด้วยแบบทดสอบวัดความ สามารถในการฟังภาษาอังกฤษเพื่อประเมินความสามารถในการฟัง ผู้วิจัยทดสอบนัก เรียนด้วยแบบทดสอบวัดความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษฉบับเดียวกับหลังก่อนการใช้ สื่อการสอน นักเรียนประเมินสื่อการสอนฟังเสริมฯ ด้วยแบบสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีต่อคุณสมบัติของสื่อการสอนแต่ละบท จนครบทั้ง 8 บทเรียน วิเคราะห์ข้อมูล ใช้ t-test แบบจับคู่ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการ ฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการฝึกฟัง ใช้ค่าสถิติพื้น ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนฟังเสริมฯ ที่สร้าง และวิเคราะห์ระดับความต้องการของนักเรียนในด้านเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของสื่อการสอน ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบพึ่งพาตนเอง ที่ผู้ วิจัยสร้างขึ้นมามีค่า 84/78 ซึ่งถือว่ามีประสิทธิภาพดี 2. ความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการฝึกฟังโดยใช้สื่อที่ สร้าง สูงกว่าก่อนการฝึกฟังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 3. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีต่อสื่อการสอนฟังเสริมฯ ทั้ง 8 บท ที่ผู้ วิจัยสร้างขึ้น
สถาบัน : มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปริญญา : มหาบัณฑิต
หลักสูตร : ศึกษาศาสตร์
สาขา : การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ
ปี : 2544
ISBN : 974-653-379-7
สืบค้นข้อมูลต้นสังกัด : http://www.library.su.ac.th/
บทคัดย่อ : การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อการสอนฟังเสริม รายการ วิชาภาษาอังกฤษ อ 019 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และเพื่อเปรียบ เทียบความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังการฝึกทักษะ การฟัง เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณสมบัติของสื่อการสอน ที่สร้าง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2544 โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ สื่อการสอนฟัง เสริมรายวิชาภาษาอังกฤษหลัก อ 019 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจำนวน 8 บทเรียน แบบ ทดสอบวัดความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษก่อนและหลังการทดลอง และแบบประเมินความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณสมบัติของสื่อการสอนฟัง ทั้ง 8 บทเรียน การทดลองใช้เวลา 8 สัปดาห์ ๆ ละ 2 คาบเรียน ๆ ละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 16 คาบ ก่อนการทดลองใช้สื่อการสอนผู้วิจัยได้ทดสอบนักเรียนด้วยแบบทดสอบวัดความ สามารถในการฟังภาษาอังกฤษเพื่อประเมินความสามารถในการฟัง ผู้วิจัยทดสอบนัก เรียนด้วยแบบทดสอบวัดความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษฉบับเดียวกับหลังก่อนการใช้ สื่อการสอน นักเรียนประเมินสื่อการสอนฟังเสริมฯ ด้วยแบบสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีต่อคุณสมบัติของสื่อการสอนแต่ละบท จนครบทั้ง 8 บทเรียน วิเคราะห์ข้อมูล ใช้ t-test แบบจับคู่ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการ ฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการฝึกฟัง ใช้ค่าสถิติพื้น ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนฟังเสริมฯ ที่สร้าง และวิเคราะห์ระดับความต้องการของนักเรียนในด้านเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของสื่อการสอน ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบพึ่งพาตนเอง ที่ผู้ วิจัยสร้างขึ้นมามีค่า 84/78 ซึ่งถือว่ามีประสิทธิภาพดี 2. ความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการฝึกฟังโดยใช้สื่อที่ สร้าง สูงกว่าก่อนการฝึกฟังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 3. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีต่อสื่อการสอนฟังเสริมฯ ทั้ง 8 บท ที่ผู้ วิจัยสร้างขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น